Nội Dung Bài Viết
กฏหมายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูความรู้เพิ่มเติมที่นี่
กฎหมายอาคาร ที่ วิศวกรต้องรู้
Ep.3 ตอนทำรั้วอย่างไรไม่ให้ล้ำข้างเคียง
ฝากติดตามเพจรังวัดเอกชน บุรีรัมย์การรังวัด = https://www.facebook.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94570291903171609/
ตอนที่5 ระยะร่น
ตอนที่ 5 ระยะร่น จะกล่าวถึงในกรณีที่ต้องการก่อสร้างอาคารบ้านพักอาศัยที่ติดกับถนนสาธารณะซึ่งต้องร่นแนวอาคารให้ห่างจากเขตถนนสาธารณะตามที่กฎหมายกำหนดไว้ ซึ่งส่วนที่เป็นแนวอาคารจะแบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ กรณีที่วัดจากด้านหน้าอาคารแนวอาคารจะยึดเอาแนวผนังอาคารหรือเสาต้นนอกสุดของอาคารบ้านพักอาศัย กับ กรณีที่วัดจากที่ดินข้างเคียงแนวอาคารจะยึดเอาแนวที่น้ำตกเช่น ชายคา หรือ กันสาดเป็นต้นซึ่งระยะร่นจากแนวอาคารถึงเขตถนนจะมากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับประเภทอาคาร ความสูงของอาคาร และ ความกว้างของถนนสาธารณะซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
กรีบ้านพักอาศัยสูงไม่เกิน 10 เมตร ถนนสาธารณะกว้างน้อยกว่า 6 เมตรต้องร่นแนวอาคารห่างจากกลางถนน 3 เมตร ถนนสาธารณะกว้างมากกว่า 6 เมตรสำหรับอาคารบ้านพักอาศัยที่มีพื้นที่ไม่เกิน 300 ตารางเมตรต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนน 0.5 เมตร และสำหรับอาคารบ้านพักอาศัยที่มีพื้นที่เกิน 300 ตารางเมตรต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนน 1 เมตร
กรณีตึกแถวหรือห้องแถวและอาคารอื่นๆเช่นหอพักหรือคอนโดมิเนียม ถนนสาธารณะกว้างน้อยกว่า 10 เมตรต้องร่นแนวอาคารห่างจากกึ่งกลางถนน 6 เมตร ถนนสาธารณะกว้างมากกว่า 10 เมตร แต่ไม่เกิน 20 เมตรต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนน 10 % ของความกว้างถนน ถนนสาธารณะกว้างตั้งแต่ 20 เมตรขึ้นไปต้องร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนน 2 เมตร
อ้างอิง: http://www.scgexperience.co.th/tag/%E0%B8%81%E0%B8%8E%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99
กฎหมายควบคุมอาคารและการจัดสรรที่ดิน #ARCHRSU
อบรมเตรียมความพร้อมสหกิจศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยรังสิต หัวข้อ \”กฎหมายควบคุมอาคารและการจัดสรรที่ดิน\” โดย ผศ.สมสฤทธิ์ ตาณพันธุ์
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Dream interpretation